บทความ
คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กาฬสินธุ์
ขอนแก่น
ชัยภูมิ
นครราชสีมา
บุรีรัมย์
มหาสารคาม
มุกดาหาร
ยโสธร
ร้อยเอ็ด
เลย
ศรีสะเกษ
สกลนคร
สุรินทร์
หนองคาย
หนองบัวลำภู
อำนาจเจริญ
อุดรธานี
อุบลราชธานี
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้
การใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า
อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ไวแสง (กก.N/ไร่) | ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1-2 | 6 | 12 | 5-10 | 3 | 60-80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากว่า 10 | 0 | มากว่า 80 | 0 |
จังหวัดกาฬสินธุ์
ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดศรีสะเกษ
การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่และส่วนน้อยที่ได้ผลผลิตระหว่าง 351-450 กิโลกรัมต่อไร่ ตามสัดส่วนของพื้นที่
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 95 |
พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกร้อยละ 90 เป็นข้าวหอมมะลิ คือพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข 15 ผลผลิตข้าวเจ้าประมาณร้อยละ 70 เป็นการผลิตเพื่อจำหน่าย ส่วนข้าวเหนียวกข6 จะผลิตเพื่อบริโภค การปลูกข้าวยังคงอาศัยน้ำฝนเป็นหลัก มีการจัดการ เพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 888 กิโลกรัม ต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตสูงสุด(กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | - | ไม่มีข้อมูล | - |
L 2 เหมาะสมปานกลาง | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 | หว่านข้าวแห้งหรือปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 888 |
L 3 เหมาะสมน้อย | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 | หว่านข้าวแห้งหรือปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 552 |
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ
ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 16 – 16 – 8 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังข้าวงอกประมาณ 30 วัน ในนาหว่านข้าวแห้ง (กรณีที่ไม่มีน้ำในนา
หรือดินแห้งอาจใส่ไม่ได้ตามกำหนด ให้ใส่เมื่อมีน้ำในนาแล้ว) หรือหลังปักดำประมาณ 7-10 วัน อัตรา 20 กิโลกรัม
ต่อไร่
ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยยูเรีย (46 – 0 – 0) อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะกำเนิดช่อดอก
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง | ไม่ไวแสง | วิเคราะห์ได้ | ที่ต้องใส่ | วิเคราะห์ได้ | ที่ต้องใส่ |
(กก. N/ไร่) | (กก. N/ไร่) | (พีพีเอ็ม.) | (กก. P2O5/ไร่) | (พีพีเอ็ม.) | (กก. K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 – 10 | 3 | 60 – 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดขอนแก่น
ศักยภาพการให้ ผลผลิตข้าว ของจังหวัดขอนแก่น ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก./ไร่) | % | ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | 75 |
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
---|
L1 เหมาะสมมาก | กข6 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 862 | L2 เหมาะสมปานกลาง | กข6 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 792 | L3 เหมาะสมน้อย | กข6 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 375 |
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-16-8, เป็น ปุ๋ยรองพื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้ ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง | ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร | ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม | ไวแสง (กก.N/ไร่) | ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) | น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 | 1 - 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 | มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
|
จังหวัดชัยภูมิ
ระดับศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยีของจังหวัดชัยภูมิ
การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมตามหลักวิชาการ สามารถยกระดับผลผลิตข้าวขึ้นมาที่ระดับมากกว่า 550 กก./ไร่ ร้อยละ 62
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต | ผลผลิต(กก.ต่อไร่) | ร้อยละที่เพิ่มขึ้น |
ผลผลิตสูง | R1 | >550 | 62 |
พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ ได้แก่พันธุ์ กข6 ส่วนนาดอนเกษตรกรนิยมปลูกพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 มากกว่าพันธุ์ กข6 พันธุ์อื่นๆที่พบคือพันธุ์กำผาย ขาวตาแห้ง เหลืองปลาซิว อีขาวหลวง เจ้าลอยในนาลุ่มมาก ถ้ามีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 683 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กก./ไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 ขาวตาแห้ง | ปลูกโดยการปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 683 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 ขาวตาแห้ง | ปลูกโดยการปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 596 |
L3 เหมาะสมน้อย | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 ขาวตาแห้ง | ปลูกโดยการปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 532 |
L4 ไม่เหมาะสม | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 ขาวตาแห้ง | ปลูกโดยการปักดำช่วง ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 574 |
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้
การใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ไวแสง (กก.N/ไร่) | ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 - 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดนครราชสีมา
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 กข15 และ ชัยนาท 2 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ไม่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าว แต่พื้นที่บางส่วนมีความเหมาะสมมากและปานกลาง การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 902 กิโลกรัมต่อไร่ และเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 60
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 | ปลูกแบบหว่านข้าวแห้งและปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 628 |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 | ปลูกแบบหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 556 |
L3 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 เหลืองปะทิว มะลิใหญ่ | ปลูกแบบหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 579 |
L4 | ขาวดอกมะลิ 105 เหลืองใบตัด | ปลูกแบบหว่านข้าวแห้งและปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 902 |
จังหวัดบุรีรัมย์
ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดบุรีรัมย์ การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับ มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งหมดตามสัดส่วนของพื้นที่ ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % | ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 100 |
พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ไว ต่อช่วงแสง ขาวดอกมะลิ105 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด …761……. กิโลกรัมต่อไร่ ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวเฉลี่ย ( กิโลกรัมต่อไร่) | L1 เหมาะสมมาก | ขาวดอกมะลิ105 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 699 | L2 เหมาะสมปานกลาง | ขาวดอกมะลิ105 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 633 | L3 เหมาะสมน้อย | ขาวดอกมะลิ105 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 597 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังวันปักดำข้าว 7-10 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวตั้งท้อง โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้ ระยะที่ใส่ | ชนิดดิน | ปุ๋ยเคมีสูตร | อัตรากิโลกรัมต่อไร่ | ปุ๋ยรองพื้น | ดินทราย | 16-16-8 | 20-25 | ปุ๋ยแต่งหน้า | | 46-0-0 | 7-10 |
หมายเหตุ ควรปลูกช่วงเดือน มิถุนายน-กรกฎาคม (เมื่อมีน้ำพอเพียงในการเตรียมดิน) การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม | ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) | น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 | 1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 | มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
|
|
จังหวัดมหาสารคาม
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข15 และ กข6 พื้นที่ที่มีความเหมาะสมต่อ การปลูกข้าวปานกลาง การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 890 กิโลกรัมต่อไร่ และเพิ่มผลผลิตข้าว ได้ประมาณร้อยละ 60
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบหว่าน/ปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 810 |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบหว่าน/ปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 630 |
L3 | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 | ปลูกแบบหว่าน/ปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 890 |
L4 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบหว่าน/ปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 580 |
จังหวัดมุกดาหาร
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 และปทุมธานี 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลางและไม่เหมาะสมอย่างละร้อยละ 50 การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 627 กิโลกรัมต่อไร่ แต่มีระดับผลผลิตส่วนใหญ่ 350-450 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 627 |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 538 |
Loc | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 420 |
จังหวัดยโสธร
ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดยโสธร
การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ประมาณร้อยละ 50 ตามสัดส่วนของพื้นที่
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 55 |
ผลผลิตปานกลาง | 2 | 450 - 550 | 5 |
ผลผลิตต่ำ | 3 | 350 - 450 | 25 |
ไม่มีข้อมูล | | | 15 |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยม 100 เปอร์เซ็นต์เป็นข้าวไวต่อช่วงแสงพันธุ์ข้าวรัฐบาล ส่วนใหญ่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกรองลงมาคือ กข6 และ กข15 ตามลำดับ เป็นการปลูกข้าวโดยอาศัยน้ำฝนอย่างเดียว และกระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 576 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 | ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน | 576 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 | ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน | 537 |
L3 เหมาะสมน้อย | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 | ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 557 |
L4 ไม่เหมาะสม | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 | ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 408 |
การใส่ปุ๋ยข้าวตามคำแนะนำ
ครั้งที่ | สูตรปุ๋ย | อัตราปุ๋ย (กิโลกรัม/ไร่) | ระยะเวลาที่ใส่ |
ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง | |
1 | 16-16-8 | 25 | 30 | - นาหว่าน: ข้าวอายุ 20 วัน - นาดำ : ไม่เกิน 7 วันหลังปักดำ |
2 | 46-0-0 | - | 10 | ข้าวแตกกอสูงสุด |
3 | 46-0-0 | 10 | 10 | ระยะกำเนิดช่อดอก |
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
(%) | ข้าวไวแสง | ไม่ไวแสง | วิเคราะห์ได้ | ที่ต้องใส่ | วิเคราะห์ได้ | ที่ต้องใส่ |
| (กก. N/ไร่) | (กก. N/ไร่) | (พีพีเอ็ม) | (กก. P2O5/ไร่) | (พีพีเอ็ม) | (กก. K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 – 10 | 3 | 60 – 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดร้อยเอ็ด
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 กข15 และ ชัยนาท 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝนมีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลาง การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 722 กิโลกรัมต่อไร่ และเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 40
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 722 |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 581 |
L3 | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 | ปลูกแบบปักดำและหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 485 |
L4 | ขาวดอกมะลิ 105 | ปลูกแบบหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 496 |
จังหวัดเลย
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 แนะชัยนาท 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลาง ประมาณร้อยละ 20 และไม่เหมาะสมร้อยละ 80 การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 594 |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 550 |
Loc | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 550 |
จังหวัดศรีสะเกษ
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 แนะชัยนาท 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลาง การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 641 |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำและหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 479 |
L3 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 450 |
จังหวัดสกลนคร
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ระดับผลผลิตข้าวและพื้นที่นาตามระดับผลผลิตของจังหวัดสกลนคร
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ผลผลิต (กก./ไร่) | พื้นที่ (ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | มากกว่า 550 | 174,219 | 8.64 |
ผลผลิตปานกลาง | 2 | 451-550 | 1,096,521 | 54.35 |
ผลผลิตต่ำ | 3 | 350-450 | 746,600 | 37.01 |
ผลผลิตต่ำมาก | 4 | น้อยกว่า 350 | - | - |
รวม | 2,017,340 | 100 |
คำแนะนำการปลูกข้าวในแต่ละระดับความเหมาะสมของดินจังหวัดสกลนคร
ความเหมาะสมของดิน | การจัดการ | ผลผลิตข้าวเฉลี่ย |
L1, เหมาะสมมาก | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 627 กก./ไร่ |
L2, เหมาะสมปานกลาง | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 538 กก./ไร่ |
L4, ไม่เหมาะสม | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 420 กก./ไร่ |
หมายเหตุ
พันธุ์ข้าว : ใช้พันธุ์ กข6 หรือ ขาวดอกมะลิ 105 หรือ กข15
จังหวัดสุรินทร์
ระดับศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดสุรินทร์
การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ เกินกว่าร้อยละ 50 ตามสัดส่วนของพื้นที่
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | > 550 | 55 |
ผลผลิตปานกลาง | 2 | 450-550 | 45 |
พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในจังหวัดสุรินทร์ คือพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และ พันธุ์ กข15 ซึ่งถือว่าเป็นสุดยอดข้าวหอมมะลิไทยจนได้รับการกล่าวขานว่าเมื่อหุงเป็นข้าว สุกมีลักษณะ “หอม ยาว ขาว นุ่ม” ข้าวทั้งสองพันธุ์เป็นข้าวไวต่อช่วงแสง เกือบทั้งหมดปลูกข้าวโดยอาศัยน้ำฝนอย่างเดียว และกระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 740 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข15 | หว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 468 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข15 | หว่านแห้งและปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 740 |
L 3 เหมาะสมน้อย | ขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข15 | หว่านแห้งและปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 675 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ
ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยสูตร 16 – 16 – 8, เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังข้าวงอกประมาณ 30 วัน ในนาหว่านข้าวแห้ง(กรณีที่ไม่มีน้ำในนาหรือดินแห้งอาจใส่ไม่ได้ตามกำหนด ให้ใส่เมื่อมีน้ำในนาแล้ว) หรือหลังปักดำประมาณ 7-10 วัน อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่
ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยยูเรีย (46 – 0 – 0)อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะกำเนิดช่อดอก
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ1 (%) | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง | ไม่ไวแสง | วิเคราะห์ได้2 | ที่ต้องใส่ | วิเคราะห์ได้3 | ที่ต้องใส่ |
(กก. N/ไร่) | (กก. N/ไร่) | (พีพีเอ็ม.) | (กก. P2O5/ไร่) | (พีพีเอ็ม.) | (กก. K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 – 10 | 3 | 60 – 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดหนองคาย
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว จังหวัดหนองคาย
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 10 |
ผลผลิตปานกลาง | 2 | 450-550 | 20 |
ผลผลิตต่ำ | 3 | 350-450 | 20 |
ผลผลิตต่ำมาก | 4 | <350 | 50 |
พันธุ์ข้าวที่นิยมมากที่สุดปลูกในพื้นที่จังหวัดหนองคาย ได้แก่ กข6 เป็น ครึ่งหนึ่ง รองไปได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105 และ กข15 กระจายอยู่ตามพื้นที่ลุ่มและค่อนข้างลุ่ม ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 629กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | กข6 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 629 |
L2 เหมาะปานกลาง | กข6 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน | 511 |
L3 เหมาะสมน้อย | กข6 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 323 |
L4 ไม่เหมาะสม | กข6 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 425 |
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-16-8 เป็นปุ๋ยรอง พื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ไวแสง (กก.N/ไร่) | ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 - 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดหนองบัวลำภู
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 และปทุมธานี 1 เนื่องจากข้อมจำกัดทั้งด้านความอุดมสมบูรณ์ของดิน และความเสี่ยงจากสภาพแห้งแล้ง เมือ่ฝนทิ้งช่วงทำให้การปลูกข้าวแม้จัดการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินแล้ว สามารถยกระดับผลผลิตได้ไม่สูงนัก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลางและพื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 504 |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 500 |
L3 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 357 |
Loc | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินจะให้ผลตอบแทนคุ้มทุน | 236 |
จังหวัดอำนาจเจริญ
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 กข41 และ กข47 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ไม่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าว แต่พื้นที่บางส่วนมีความเหมาะสมปานกลาง การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณร้อยละ 20
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด(กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 487 |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 581 |
L3 | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 485 |
L4 | ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และ กข15 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 496 |
จังหวัดอุดรธานี
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 และกข10 เนื่องจากข้อมจำกัดทั้งด้านความอุดมสมบูรณ์ของดิน และความเสี่ยงจากสภาพแห้งแล้ง เมือ่ฝนทิ้งช่วงทำให้การปลูกข้าวแม้จัดการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินแล้ว สามารถยกระดับผลผลิตได้ไม่สูงนัก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมากประมาณร้อยละ 10 เหมาะสมปานกลางร้อยละ 30 และเหมาะสมร้อยละ 50 การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | ไม่มีข้อมูล |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 512 |
L3 | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 385 |
Loc | ขาวดอกมะลิ 105 กข15กข6 | ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | ไม่มีข้อมูล |
จังหวัดอุบลราชธานี
ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดอุบลราชธานี
การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ประมาณร้อยละ 50 ตามสัดส่วนของพื้นที่
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 50 |
ผลผลิตปานกลาง | 2 | 450-550 | 50 |
พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีอย่างน้อยมี 3 พันธุ์ ได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105
กข15 กข6 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 708 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 | ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 708 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 | ปลูกวิธีปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน | 682 |
L3 เหมาะสมน้อย | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 489 |
L4 ไม่เหมาะสม | ขาวดอกมะลิ 105 กข15 กข6 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน | 522 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-16-8,16-12-8,18-12-6 หรือ16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8,16-12-8 18-12-6 หรือ 16-20-0 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |