บทความ
คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคกลาง
กรุงเทพมหานคร
กำแพงเพชร
ชัยนาท
นครนายก
นครปฐม
นครสวรรค์
นนทบุรี
ปทุมธานี
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พิจิตร
พิษณุโลก
เพชรบูรณ์
ลพบุรี
สมุทรปราการ
สมุทรสงคราม
สมุทรสาคร
สระบุรี
สิงห์บุรี
สุโขทัย
สุพรรณบุรี
อ่างทอง
อุทัยธานี
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้
การใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า
อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ไวแสง (กก.N/ไร่) | ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1-2 | 6 | 12 | 5-10 | 3 | 60-80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากว่า 10 | 0 | มากว่า 80 | 0 |
กรุงเทพมหานคร
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 950 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 กข31 กข41 และสุพรรณบุรี 1 พื้นที่ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าว การจัดการที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้ประมาณ ร้อยละ 30
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31(ปทุมธานี 80) | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 959 |
L3 | ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31(ปทุมธานี 80) | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | ไม่มีข้อมูล |
จังหวัดกำแพงเพชร
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 451-550 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 กข31 กข29 กข41 กข47 และสุพรรณบุรี 1 พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากและปานกลางเป็นส่วนใหญ่ การจัดการที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้ มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ โดยให้ผลผลิตสูงสุดได้มากกว่า 1,000 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | พิษณุโลก 2 กข31 กข29 กข47 | ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน | 1,055 |
L2 | พิษณุโลก 2 กข31 กข29 กข47 | ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน | 975 |
จังหวัดชัยนาท
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 กข29 กข47 และ กข41 พื้นที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก และเหมาะสมปานกลางประมาณร้อยละ 70 และ 30 ตามลำดับ การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 20
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข29 และ กข31 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 957 |
L2 | สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข29 และ กข31 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 926 |
Loc | สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข29 และ กข31 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | ไม่มีข้อมูล |
จังหวัดนครนายก
การใช้เทคโนโลยีการใส่ปุ๋ยเคมีที่ถูกต้องและเหมาะสม สามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าว โดยรวมได้ยกระดับผลผลิตข้าวของจังหวัดนครนายก ให้สูงขึ้นประมาณ ร้อยละ 37 โดยในเขตชลประทาน จากระดับที่ 2 คือ ผลผลิต 450-550 กิโลกรัมต่อไร่ และระดับที่ 1 คือ มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ เป็น มากกว่า 700 กิโลกรัมต่อไร่ และเพิ่มพื้นที่ที่ให้ผลผลิตมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ได้มากขึ้น ส่วนพื้นที่อาศัยน้ำฝน สามารถยกระดับศักยภาพการผลิต จากระดับที่ 2 เป็นระดับที่ 1 และปรับผลิตระดับที่ 4 ให้เป็นระดับที่ 2 ได้ ในเขตที่สามารถหาแหล่งน้ำเพิ่มเติมได้ ตามสัดส่วนของพื้นที่
ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดนครนายก
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 80 |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูก ในฤดูนาปี ได้แก่ พันธุ์เหลืองประทิว 123 ขาวตาแห้ง 17 และ ขาวดอกมะลิ 105 และในฤดูนาปรัง ได้แก่ พันธุ์สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 และสุพรรณบุรี 60 กระจายตามสัดส่วนของพื้นที่ มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 720 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | สุพรรณบุรี 1,ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1,พิษณุโลก 2 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 559 |
| ขาวดอกมะลิ 105 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 320 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | สุพรรณบุรี 1,ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1,พิษณุโลก 2 | ปลูกวิธีหว่าน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 685 |
L3 เหมาะสมน้อย | สุพรรณบุรี 1,ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1,พิษณุโลก 2 | ปลูกวิธีหว่าน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 720 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8,18-12-6 หรือ 16-20-0 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าว ตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวต่อช่วงแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้(ส่วนในล้าน ส่วน) | ที่ต้องใส่(กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้(ส่วนในล้าน ส่วน) | ที่ต้องใส่(กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดนครปฐม
ศักยภาพผลผลิตข้าว จากการใช้เทคโนโลยี จังหวัดนครปฐม การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถยกระดับผลผลิตของพื้นที่ปลูกข้าวของจังหวัดจังหวัดนครปฐม มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ให้เป็นระดับที่ ได้เกือบทั้งหมด ตามสัดส่วนของพื้นที่
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว จังหวัดนครปฐม
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 80 |
ผลผลิตปานกลาง | 2 | 450-550 | 10 |
ผลผลิตน้อย | 3 | 350-450 | 10 |
พันธุ์ข้าวที่เป็นที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดนครปฐม คือ พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 (65%) ปทุมธานี 1 (5%) และชัยนาท (5%) มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 1,085 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 1,085 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 850 |
L3 เหมาะสมปานกลาง | สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 3 สุพรรณบุรี 60 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 710 |
คำแนะนำการใช้เทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมการใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8,18-12-6 หรือ 16-20-0 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าว ตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดนครสวรรค์
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 กข41 กข47 และขาวดอกมะลิ 105 กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากและปานกลางเป็นส่วนใหญ่ การจัดการที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 กข41 กข47 และขาวดอกมะลิ105 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 835 |
L2 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 กข41 กข47 และขาวดอกมะลิ105 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 486 |
L3 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 กข41 กข47 และขาวดอกมะลิ105 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 450 |
Loc | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 กข41 กข47 และขาวดอกมะลิ105 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 349 |
จังหวัดนนทบุรี
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41 และขายเป็นเมล็ดพันธุ์ พื้นที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก และเหมาะสมน้อย ประมาณร้อยละ 80 และ 20 ตามลำดับ การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 20
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 และ กข31 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 1,092 |
L2 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 และ กข31 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 1,116 |
จังหวัดปทุมธานี
การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตขึ้นมาเป็นที่ระดับ มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งหมด ตามสัดส่วนของพื้นที่
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดปทุมธานี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 100 |
พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี อย่างน้อยมี 4 พันธุ์ ได้แก่ สุพรรณบุรี1 ชัยนาท1 พิษณุโลก2 และ ปทุมธานี1 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 795 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | สุพรรณบุรี 1, ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1, พิษณุโลก 2 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 745 |
L3 เหมาะสมน้อย | สุพรรณบุรี 1, ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1, พิษณุโลก 2 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 795 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8,16-12-8 18-12-6 หรือ 16-20-0 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 กข47 และ กข41 พื้นที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก และเหมาะสมน้อย เนื่องจากเป็นพื้นที่ดินเปรี้ยวประมาณร้อยละ 80 และ 20 ตามลำดับ การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 20
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข31 ขาวดอกมะลิ105 ขาวตาแห้ง 17 อยุธยา1 ปราจีนบุรี 1 กข 35 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตมหรือปลูกโดยวิธีโยนกล้า ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 873 550 |
L2 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข31 ขาวดอกมะลิ105 ขาวตาแห้ง 17 อยุธยา1 ปราจีนบุรี 1 กข 35 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตมหรือปลูกโดยวิธีโยนกล้า ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 700 500 |
L3 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข31 ขาวดอกมะลิ105 ขาวตาแห้ง 17 อยุธยา1 ปราจีนบุรี 1 กข 35 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตมหรือปลูกโดยวิธีโยนกล้า ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 631 450 |
จังหวัดพิจิตร
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดพิจิตร
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 100 |
พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่จังหวัดพิจิตร สุพรรณบุรี1 ขาวดอกมะลิ105 ชัยนาท1กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 961 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด(กก./ไร่) |
L1เหมาะสมมาก | สุพรรณบุรี1 ขาวดอกมะลิ105 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 947 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | สุพรรณบุรี1 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 961 |
L3เหมาะสมน้อย | ขาวดอกมะลิ105 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 710 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8,18-12-6หรือ 16-20-0 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดพิษณุโลก
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดพิษณุโลก
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 95 |
พื้นที่อื่นๆ | | | 5 |
พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกได้แก่ สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2ชัยนาท 1 ขาวดอกมะลิ 105 กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 1,022 กิโลกรัม ต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1เหมาะสมมาก | สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 1,022 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | สุพรรณบุรี 1 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 890 |
L3เหมาะสมน้อย | ขาวดอกมะลิ 105 | ปลูกวิธีปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 780 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8 18-12-6 หรือ 16-20-0 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดเพชรบูรณ์
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากเป็นส่วนใหญ่ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้สูงสุด 550 กิโลกรัมต่อไร่ เกือบทั้งหมด
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 | ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน | 587 |
L2 | ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 | ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน | 518 |
L3 | ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 | ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน | ไม่มีใข้อมูล |
Loc | ขาวดอกมะลิ 105 ลืมผัว สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2 และชัยนาท 1 | ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน | ไม่มีใข้อมูล |
จังหวัดลพบุรี
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 และ กข41 กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวเป็นส่วนใหญ่ และเหมาะสมปานกลางประมาณร้อยละ 20 การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้ประมาณ ร้อยละ 20
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 914 |
L2 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 550 |
L3 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 349 |
จังหวัดสมุทรปราการ
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข41 และสุพรรณบุรี 90 พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก ส่วนใหญ่อยู่ด้านบนของอำเภอบางบ่อ การจัดการที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้ ประมาณร้อยละ 20
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | พิษณุโลก 2 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 849 |
จังหวัดสมุทรสงคราม
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 451-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 ปทุมธานี 60 และสุพรรณบุรี 1 พื้นที่ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก พื้นที่ปลูกข้าวน้อยมาก ไม่ได้ทำการทดสอบเทคโนโลยีแต่สามารถให้คำแนะนำการปลูกข้าวเช่นเดียวกับจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดสมุทรสาคร
จังหวัดสมุทรสาคร
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 และสุพรรณบุรี 60 พื้นที่มากกว่าร้อยละ 50 มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก ส่วนใหญ่อยู่ด้านบนของอำเภอบางบ่อ การจัดการที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้ ประมาณร้อยละ 20
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | พิษณุโลก 90 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 735 |
จังหวัดสระบุรี
พันธุ์ข้าวนาปีที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดสระบุรี อย่างน้อยมี 6 พันธุ์ คือ ขาวดอกมะลิ 105 ขาวตาแห้ง 17 เจ๊กเชย เหลืองพานทอง พวงเมล็ดสั้น และ พวงขนุน กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 500 กิโลกรัมต่อไร่
ตารางแสดง ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดสระบุรี
พันธุ์ข้าวนาปรังที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดสระบุรี อย่างน้อยมี 4 พันธุ์ ได้แก่ สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท1 พิษณุโลก 2 และ ปทุมธานี 1 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมแตกต่างกัน สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 750 กิโลกรัมต่อไร่
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 90 |
พื้นที่ไม่เหมาะสม | | | 10 |
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 (ปทุมธานี 80) | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 750 |
| ขาวดอกมะลิ105 ขาวตาแห้ง17 เหลืองพานทอง กข35 (รังสิต 80) | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 550 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 (ปทุมธานี 80) | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 700 |
| ขาวดอกมะลิ 105 ขาวตาแห้ง 17 เหลืองพานทอง กข35 (รังสิต 80) | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 500 |
L3 เหมาะสมปานน้อย | สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 (ปทุมธานี 80) | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 600 |
| ขาวดอกมะลิ 105 ขาวตาแห้ง 17 เหลืองพานทอง กข35 (รังสิต 80) | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 450 |
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8,16-12-8 18-12-6หรือ 16-20-0 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดสิงห์บุรี
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 กข31 และ กข41 พื้นที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก ประมาณร้อยละ 90 ของพื้นที่ การจัดการที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 1,000 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 1,042 |
L2 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 550 |
L3 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 550 |
Loc | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 550 |
จังหวัดสุโขทัย
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 850 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 701-850 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พิษณุโลก 2 กข41 กข47 และชัยนาท 1 พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากเป็นส่วนใหญ่ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้สูงสุด 868 กิโลกรัมต่อไร่ เพิ่มผลผลิตข้าวได้ ร้อยละ 27
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | พิษณุโลก 2 กข41 กข47 ชัยนาท 1 | ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 868 |
L2 | พิษณุโลก 2 กข31 กข29 กข47 | ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 796 |
L3 | พิษณุโลก 2 กข41 กข47 ชัยนาท 1 | ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 752 |
Loc | พิษณุโลก 2 กข31 กข29 กข47 | ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ | 859 |
จังหวัดสุพรรณบุรี
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดสุพรรณบุรี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 100 |
พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ สุพรรณบุรี 1เป็นส่วนใหญ่ ส่วนสุพรรณบุรี 2 พันธุ์อื่น ๆ มีเพียงเล็กน้อย กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 887 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | สุพรรณบุรี 1 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 887 |
L2 เหมาะปานกลาง | สุพรรณบุรี 1 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามค่าวิเคราะห์ดิน | 722 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร16-20-0,18-12-6 หรือ12-18 -6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 18-12-6 , 12-18-6 หรือ 16-20-0 | 25 กิโลกรัมต่อไร | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดอ่างทอง
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดอ่างทอง
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต ( R ) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 95 |
พื้นที่ไม่เหมาะสม | | | 5 |
พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง ได้แก่ สุพรรณบุรี1 ปทุมธานี1 ชัยนาท1 และ สุพรรณบุรี 2 กระจายอยู่ตามพื้นที่ชลประทาน ส่วนนาในที่ลุ่มปลูกข้าวไวต่อช่วงแสงเพียงเล็กน้อย มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 925 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท 1ปทุมธานี 1 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 925 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | สุพรรณบุรี 1 เหลืองประทิวชัยนาท 1ปทุมธานี 1 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 646 |
คำแนะนำการใช้เทคโนโลยีตามศักยภาพการผลิต
ในนาดินเหนียว
- พันธุ์ข้าวนาปรังไม่ไวต่อช่วงแสง (อายุเก็บเกี่ยวไม่ เกิน 120 วัน)
- ปุ๋ยครั้งแรก ใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมฟอสเฟต สูตร 16-20-0 ในอัตรา 30 กก./ไร่ ในระยะ 20 วันหลังหว่านข้าว
- ครั้งที่สอง และครั้งที่สาม ใส่ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) ในอัตรา 10 กก./ไร่ ในระยะข้าวแตกกอ
สูงสุด และกำเนิดช่อดอก (45 และ 60 วันหลังหว่านข้าว)
- พันธุ์ข้าวนาปีไวต่อช่วงแสง
- ปุ๋ยครั้งแรก ใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมฟอสเฟต สูตร 16-20-0 ในอัตรา 25 กก./ไร่ ใน
ระยะ 20-30 วันหลังหว่านข้าว
- ปุ๋ยครั้งที่สอง ใส่ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) ในอัตรา 10 กก./ไร่ ในระยะข้าวกำเนิดช่อดอก
ขณะใส่ปุ๋ยระดับน้ำควรมีความลึกระหว่าง 30-50 เซนติเมตร
ในนาดินทราย
การใส่ปุ๋ยครั้งแรกใส่ปุ๋ยเคมีสูตร16-12-8 หรือสูตร 18-12-6 ใน อัตรา 30 กก./ไร่ สำหรับข้าวนาปรังไม่ไวต่อช่วงแสง และอัตรา 25 กก./ไร่ สำหรับข้าวนาปีไวต่อช่วงแสง สำหรับการใส่ปุ๋ยครั้งที่สองและสาม ใช้ปุ๋ยเคมีตามชนิดและอัตราเช่นเดียวกันกับนาดินเหนียว
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดอุทัยธานี
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ สุพรรณบุรี 3 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 และ กข47 กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวปานกลางเป็นส่วนใหญ่ การจัดการที่เหมาะสมสามารถยกระดับผลผลิตมากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 และ กข47 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 702 |
L2 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 และ กข47 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 550 |
L3 | สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 ชัยนาท 1 กข31 และ กข47 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 550 |