Loading...
บทความ

คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคเหนือ

  • เชียงราย

  • เชียงใหม่

  • แม่ฮ่องสอน

  • ลำปาง

  • อุตรดิตถ์

  • พะเยา

  • แพร่

  • น่าน

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

 

การใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

 

ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า

 

อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1-2

6

12

5-10

3

60-80

3

มากกว่า 2

3

6

มากว่า 10

0

มากว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดเชียงราย

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวนาปรังของจังหวัดเชียงราย


 

         พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่นาปรัง มี ชัยนาท 1, พิษณุโลก 2, สุพรรณบุรี 1,สุพรรณบุรี 60 สันป่าตอง 1,กข10,       ก.วก.1, ก.วก.2 และ Koshihikari กระจายอยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินที่ต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 1,036 กิโลกรัมต่อไร่

 

คำแนะนำการจัดการเพาะปลูก และการใส่ปุ๋ยข้าวนาปรัง ตามพันธุ์ข้าวและระดับความเหมาะสมของดินนา จังหวัดเชียงราย

 

ดิน

ชนิดข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวสูงสุด

(กก./ไร่)

เหมาะสมมาก

สันป่าตอง 1

กข10

นาหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

958

ชัยนาท 1, พิษณุโลก 2,

สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60

 นาหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

1,036

ก.วก.1 , ก.วก.2 และ Koshihikari

เริ่มปลูกเดือนมกราคม แบบนาดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

641

เหมาะสมปานกลาง

สันป่าตอง 1

กข10

ปลูกเดือนมกราคม หว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

943

ชัยนาท 1, พิษณุโลก 2,

สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60

นาหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

1,025

เหมาะสมน้อย

สันป่าตอง 1

กข10

นาหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

963

ชัยนาท 1, พิษณุโลก 2,

สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60

 

นาดำ

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

702

 

           

        การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0, 18-46-0, 12-16-8 หรือ 18-12-6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอสูงสุดและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของดินและพันธุ์ข้าว ดังนี้    

          

สูตรปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น ระยะ 20 วันหลังหว่าน (16-20-0, 18-46-0)

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอสูงสุด (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะกำเนิดช่อดอก (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

        ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

 

        การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน พิจารณาเลือกใช้อัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสเฟต และโพแทสเซียม ตามค่าความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดังนี้ 

 

อินทรียวัตถุ

ที่วิเคราะห์ได้ (%)

ไนโตรเจนที่ต้องใส่

ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์

โพแทสเซียมที่สกัดได้

ข้าวไวต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ข้าวไม่ไว

ต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

< 1

9

18

< 5

6

< 60

6

1 - 2

6

12

5 – 10

3

60 – 80

3

>2

3

6

> 10

0

> 80

0

 

 

 

 

จังหวัดเชียงใหม่

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 สันป่าตอง1 เจ้าฮ้อ กวก. 1 และ กวก. 2 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมาก และพื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสม พื้นที่บางส่วนมีการปลูกพืชหมุนเวียนหรือพืชคุลมดิน  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะ

สมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 สันป่าตอง1

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

724

L2

พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 สันป่าตอง1

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

ไม่มีข้อมูล

Loc

พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 สันป่าตอง1

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

ไม่มีข้อมูล

      

 

จังหวัดแม่ฮ่องสอน

 

ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข21 และข้าวพันธุ์พื้นเมืองต่าง ๆ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูง จึงถูกจัดว่าไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว แต่เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมปลูกข้าวไร่ สภาพเป็นนาน้ำฝน  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่  โดยให้ผลผลิตข้าสูงสุด 850 กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

สันป่าตอง1

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

631

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

481

L2

IR77954-28-34-3

ปลูกแบบปักดำ

-ใส่ปุ๋ยรองพื้น 46-0-0 อัตรา 9 กก./ไร่ และ 0-46-0 อัตรา 13 กก./ไร่

-ใส่ปุ๋ยแต่งหน้า46-0-0 อัตรา 3 กก./ไร่

864

กข21

ปลูกแบบปักดำ

-ใส่ปุ๋ยรองพื้น 46-0-0 อัตรา 9 กก./ไร่ และ 0-46-0 อัตรา 13 กก./ไร่

-ใส่ปุ๋ยรองพื้น 46-0-0 อัตรา 9 กก./ไร่ ระยะแตกกอ

-ใส่ปุ๋ยแต่งหน้า46-0-0 อัตรา 9 กก./ไร่

851

Loc

เหนียวสันป่าตอง

ปลูกแบบปักดำ

-ใส่ปุ๋ยรองพื้น 46-0-0 อัตรา 4 กก./ไร่

-ใส่ปุ๋ยแต่งหน้า46-0-0 อัตรา 3 กก./ไร่

601

ขาวดอกมะลิ 105

ปลูกแบบปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

800

 

 

 

จังหวัดลำปาง


ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข6 กข10 และสันป่าตอง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวปานกลาง  พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ 

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

กข6

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

725

L2

กข6

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

526

              

            

จังหวัดอุตรดิตถ์


ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 พิษณุโลก 2  ชัยนาท 1  สุพรรณบุรี 1  ปทุมธานี 1  กข41 และ กข47 พื้นที่ปลูกข้าวมีทั้งนาน้ำฝนและพื้นที่ชลประทานมีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวมากและปานกลางเป็นส่วนใหญ่  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวได้สูงสุด 931 กิโลกรัมต่อไร่  หรือเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 45

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่)

L1

 

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

788

L2

 

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

757

L3

 

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

931

L4

 

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

840

 

 

 

จังหวัดพะเยา


ศักยภาพการผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี ของจังหวัดพะเยา

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

89

ผลผลิตปานกลาง

2

451-550

4

ผลผลิตต่ำ

3

350-450

0

ผลผลิตต่ำมาก

4

<350

7

รวม

100

 

       

 

        พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ข้าว กข6 รองลงมาได้แก่ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ข้าวเจ้าคุณภาพดี พันธุ์   กข15 และข้าวเหนียวอายุเบา ได้แก่พันธุ์สันป่าตอง 1 พันธุ์ดอสบเปา กระจายอยู่อยู่ตามพื้นที่ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดิน   ที่ต่าง กัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมสามารถให้ผลผลิตให้ผลผลิตสูงสุด  681 กิโลกรัมต่อไร่

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่)

L1

กข 6

ปลูกแบบปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

632

กข15

ปลูกแบบปักดำ หรือหว่านข้าวแห้ง การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

681

ขาวดอกมะลิ105

ปลูกแบบปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

648

L2

ขาวดอกมะลิ105

ปลูกแบบปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

531

L3

สันป่าตอง 1

ปลูกแบบปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

614

Loc

กข15

หว่านข้าวแห้งหรือปักดำ การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ *หาแหล่งน้ำเพิ่มเติม

622

 

 

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

 

การใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น16-20-0 หรือ 16-16-8

 25 กิโลกรัมต่อไร่

 30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

 5 กิโลกรัมต่อไร่

 10 กิโลกรัมต่อไร่

       

 

ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้   การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง (กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 - 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดแพร่

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว จังหวัดแพร่

ศักยะภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต(R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูงมาก

1a

>850

65

ผลผลิตสูง

1b

>701-850

35

 

ดิน

พันธุ์ข้าว / พืชร่วมระบบ

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่)

L1
เหมาะสมมาก

กข10,สันป่าตอง 1/ พืชไร่

การปลูกแบบปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

970

กข6และขาวดอกมะลิ 105 / พืชไร่

800

L2
เหมาะสมปานกลาง

กข10, สันป่าตอง 1 / พืชไร่

การปลูกแบบปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

780

กข6 / พืชไร่

650

Loc
เหมาะสมสำหรับพืชอื่น

กข10

การปลูกแบบปักดำ

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

760

กข6

740

 

        การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0, 18-46-0, 12-16-8 หรือ 18-12-6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน     และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอสูงสุดและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของดินและพันธุ์ข้าว ดังนี้       

       

สูตรปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น ระยะ 20 วันหลังหว่าน (16-20-0, 18-46-0)

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอสูงสุด (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะกำเนิดช่อดอก (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

        ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

อินทรียวัตถุ

ที่วิเคราะห์ได้ (%)

ไนโตรเจนที่ต้องใส่

ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์

โพแทสเซียมที่สกัดได้

ข้าวไวต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ข้าวไม่ไว

ต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

< 1

9

18

< 5

6

< 60

6

1 - 2

6

12

5 – 10

3

60 – 80

3

>2

3

6

> 10

0

> 80

0

 

 

จังหวัดน่าน


ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวของจังหวัดน่าน

 

ระดับความเหมาะสม

R

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

100

 

 

ความเหมาะสมของดิน

ระบบปลูกพืช

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าว
(กิโลกรัมต่อไร่)

L1
เหมาะสมมาก

ข้าว-พืชไร่

กข10 
สันป่าตอง 1

ปลูกโดยวิธีปักดำ 
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

902

L2
เหมาะสมปานกลาง

ข้าว-พืชไร่

เหนียวหวัน 1 
(กข6/หอมทุ่ง)

ปลูกโดยวิธีปักดำ 
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

853

L3
เหมาะสมน้อย

ข้าว-พืชผัก(พริก)

กข10 
สันป่าตอง 1

ปลูกโดยวิธีปักดำ

1,070

 

ข้าวฤดูเดียว

กข6

ปลูกโดยวิธีปักดำ 
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

763

Loc 
ไม่เหมาะสม

 

กข10 
สันป่าตอง 1

ปลูกโดยวิธีปักดำ 
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

825

  

กข6

ปลูกโดยวิธีปักดำ 
ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ

670

หมายเหตุ  พืชไร่ ได้แก่ ข้าวโพด  ถั่วเหลือง และยาสูบ เป็นต้น    พืชผัก  ได้แก่  พริก  พืชผักต่าง ๆ

 

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้น ในวันปักดำ หรือ หลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะ ข้าวแตกกอสูงสุด และ ระยะกำเหนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้ 

 

การใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8

  25 กิโลกรัมต่อไร่

  30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า  46-0-0

  5 กิโลกรัมต่อไร่

  10 กิโลกรัมต่อไร่

 

ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน : ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)

ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1  -  2

6

12

5  -  10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0