Loading...
บทความ

คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคตะวันออก

  • ปราจีนบุรี

  • สระแก้ว

  • ฉะเชิงเทรา

  • ระยอง

  • จันทบุรี

 

การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้

การใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

 

ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า

 

อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1-2

6

12

5-10

3

60-80

3

มากกว่า 2

3

6

มากว่า 10

0

มากว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดปราจีนบุรี

 

ศักยภาพผลผลิตข้าว จากการใช้เทคโนโลยี จังหวัดปราจีนบุรี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

80

 

 

        เนื่องจากเป็นพื้นที่อาศัยน้ำฝนร้อยละ 86 ดังนั้น พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ไวต่อช่วงแสงทั้งข้าวพันธุ์พื้นเมืองและข้าวพันธุ์รัฐบาล ได้แก่ เหลืองใหญ่, ช่อไสว,จินตหรา ขาวดอกมะลิ105, ปทุมธานี 60, ปราจีนบุรี1 ที่เหลือเป็นข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง ได้แก่สุพรรณบุรี1, ชัยนาท1, ปทุมธานี 1  กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 849 กิโลกรัมต่อไร่

 

 ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวเฉลี่ย
( กิโลกรัมต่อไร่)

L1
เหมาะสมมาก

ขาวดอกมะลิ105 ชัยนาท1,ขาวตาแห้ง
เหลืองใหญ่

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม และหว่านข้าวแห้ง
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

703

L2
เหมาะสมปานกลาง

ขาวดอกมะลิ105 ชัยนาท1,ขาวตาแห้ง
เหลืองใหญ่

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

699

L3
เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ105 ชัยนาท1,ขาวตาแห้ง
เหลืองใหญ่

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

628

 

 

 การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8, และ16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวเริ่มสร้างรวงอ่อน โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะที่ใส่ปุ๋ย

ชนิดดิน

ปุ๋เคมีสูตร

อัตรากิโลกรัมต่อไร่

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น

ดินเหนียว/ดินทราย

16-16-8, /16-20-0

20-25

30-35

ปุ๋ยแต่งหน้า

 

46-0-0

5-10

10-15

 

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ (%)
ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้
(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้
(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดสระแก้ว


 ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดสระแก้ว

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

100

 

 

                เนื่องจากเป็นพื้นที่อาศัยน้ำฝน พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดสระแก้วส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ไวต่อช่วง แสง  ขาวดอกมะลิ105 รองลงมาเป็น เหลืองประทิวและขาวตาแห้ง มีพันธุ์พื้นเมืองเล็กน้อย เช่น ข้าวเหลือง และ ขาวกอเดียวกระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 782 กิโลกรัมต่อไร่

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตข้าวเฉลี่ย
( กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

ขาวดอกมะลิ105 
ขาวตาแห้ง

ปลูกวิธีปักดำ และหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

782

L2

เหมาะสมปานกลาง

ขาวดอกมะลิ105 
ขาวตาแห้ง

ปลูกวิธีปักดำ และหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

782

L3

เหมาะสมน้อย

ขาวดอกมะลิ105 ขาวตาแห้ง

ปลูกวิธีปักดำ และหว่านน้ำตม
ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ
หรือตามค่าวิเคราะห์ดิน

556

 

 

การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8, และ16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังวันปักดำหรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวเริ่มสร้างรวงอ่อน โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 ระยะที่ใส่

ชนิดดิน

ปุ๋เคมีสูตร

อัตรากิโลกรัมต่อไร่

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

รองพื้น

ดินเหนียว/ดินทราย

16-16-8, /16-20-0

20-25

30-35

แต่งหน้า

 

46-0-0

5-10

10-15

 

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

 อินทรียวัตถุ (%)
ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้
(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้
(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

จังหวัดฉะเชิงเทรา

 

ศักยภาพการให้ผลผลิตจังหวัดฉะเชิงเทรา

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ค่าระดับผลผลิต

ระดับผลผลิต(กก./ไร่)

อัตราร้อยละ

สูง

R 1

>550

76

ปานกลาง

R 2

450-550

0.5

ต่ำ

R 3

350-450

23.5

 

 

ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

เหมาะสมมาก

พิษณุโลก 2

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

803

L3

เหมาะสมน้อย

สุพรรณบุรี 1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

515

 

 

การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0, 18-46-0, 12-16-8 หรือ 18-12-6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน             และปุ๋ย 46-0-0 เป็น ปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอสูงสุดและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของดินและพันธุ์ข้าว ดังนี้               

 

ระยะเวลาในการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น ระยะ 20 วันหลังหว่าน (16-20-0, 18-46-0)

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอสูงสุด (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะกำเนิดช่อดอก (46-0-0)

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

 

 

การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

อินทรียวัตถุ

ที่วิเคราะห์ได้ (%)

ไนโตรเจนที่ต้องใส่

ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์

โพแทสเซียมที่สกัดได้

ข้าวไวต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

(กกN./ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิเคราะห์ได้

(ppm)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

< 1

9

18

< 5

6

< 60

6

1 - 2

6

12

5 – 10

3

60 – 80

3

>2

3

6

> 10

0

> 80

0

 

 

 

จังหวัดระยอง

 

ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดระยอง

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กก.ไร่)

%

ผลผลิตสูง

1

>550

77

ผลผลิตปานกลาง

2

450 - 550

23

       

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูก ในฤดูนาปี ได้แก่ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 นางเสมอ ขาวปทุม และข้าวเหลือง และในฤดูนาปรัง ได้แก่ พันธุ์สุพรรณบุรี 1 ปทุมธานี 1 และพิษณุโลก 2   พันธุ์ข้าวนาปรังที่อย่างน้อยมี 4 พันธุ์ ได้แก่ สุพรรณบุรี 1 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 และ ปทุมธานี 1 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมแตกต่างกัน สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 750 กิโลกรัมต่อไร่  

 

 ดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการ

ผลผลิตสูงสุด
(กิโลกรัมต่อไร่)

(L1)

เหมาะสมมาก

ขาวดอกมะลิ 105ปทุมธานี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

750

 

ขาวดอกมะลิ 105

ปทุมธานี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

724

(L2)

เหมาะสมปานกลาง

ขาวดอกมะลิ 105

ปทุมธานี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

565

 

ขาวดอกมะลิ 105

ปทุมธานี 60

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

611

(L4)

ไม่เหมาะสม

สุพรรณบุรี 1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ

647

 

สุพรรณบุรี 1

ปลูกวิธีหว่านน้ำตม

ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน

626

 

การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้

 

ระยะการใส่ปุ๋ย

ข้าวไวต่อช่วงแสง

ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ปุ๋ยรองพื้น 16-16-8,16-12-8 18-12-6

หรือ 16-20-0

25 กิโลกรัมต่อไร่

30 กิโลกรัมต่อไร่

ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0

5 กิโลกรัมต่อไร่

10 กิโลกรัมต่อไร่

       

        ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ

 

การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน

 

 อินทรียวัตถุ
(%)

 ที่วิเคราะห์ได้

ปริมาณไนโตรเจน

ปริมาณฟอสฟอรัส

ปริมาณโพแทสเซียม

ข้าวไวแสง

(กก.N/ไร่)

ข้าวไม่ไวแสง

(กก.N/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.P2O5/ไร่)

ที่วิคราะห์ได้

(ส่วนในล้านส่วน)

ที่ต้องใส่

(กก.K2O/ไร่)

 น้อยกว่า 1

9

18

น้อยกว่า 5

6

น้อยกว่า 60

6

  1 – 2

6

12

5 - 10

3

60 - 80

3

 มากกว่า 2

3

6

มากกว่า 10

0

มากกว่า 80

0

 

 

 

จังหวัดจันทบุรี

 

ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี

 

ศักยภาพการให้ผลผลิต

ระดับผลผลิต (R)

ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่)

%

ผลผลิตสูง

R1

> 550

 

ผลผลิตปานกลาง

R2

450-550

 

ผลผลิตต่ำ

R3

350-450

 

ผลผลิตต่ำมาก

R4

< 350

 

รวม

 

 

        พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1  พื้นที่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมากเป็นส่วนใหญ่  การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถเพิ่มผลผลิตได้สูงสุด 550      กิโลกรัมต่อไร่ เกือบทั้งหมด

 

ระดับความเหมาะสมของดิน

พันธุ์ข้าว

การจัดการเพาะปลูก

ผลผลิตสูงสุด

(กิโลกรัมต่อไร่)

L1

ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1 

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

587

L2

ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1 

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

518

L3

ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1 

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

ไม่มีใข้อมูล

Loc

ขาวดอกมะลิ 105  ลืมผัว  สุพรรณบุรี 1 พิษณุโลก 2  และชัยนาท 1 

ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำหรือค่าวิเคราะห์ดิน

ไม่มีใข้อมูล