บทความ
คำแนะนำการใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ภาคใต้
กระบี่
ชุมพร
ตรัง
นครศรีธรรมราช
พังงา
พัทลุง
ภูเก็ต
ระนอง
สงขลา
สตูล
สุราษฎร์ธานี
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยรองพื้นในวันปักดำ หรือหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ยแต่งหน้าที่ระยะข้าวแตกกอสูงสุด และระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราดังนี้
การใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-20-0 หรือ 16-16-8 | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยรองพื้นที่ใช้สามารถใช้แม่ปุ๋ยผสมใช้แทนได้ การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลักที่ใส่ในนาข้าวตามค่า
อินทรียวัตถุ(%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ไวแสง (กก.N/ไร่) | ไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1-2 | 6 | 12 | 5-10 | 3 | 60-80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากว่า 10 | 0 | มากว่า 80 | 0 |
จังหวัดกระบี่
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมืองสังข์หยดพัทลุง ดอกพะยอม และปทุมธานี 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว ในสัดส่วนใกล้เคียงกัน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ โดยให้ผลผลิตสูงสุด 620 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 560 |
L2 | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 618 |
L3 | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 414 |
Loc | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 322 |
จังหวัดชุมพร
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมือง เฉี้ยงพัทลุง ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 และปทุมธานี1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ โดยให้ผลผลิตสูงสุด 620
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 60 ปทุมธานี 1 สุพรรณบุรี 90 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 600-1,000 |
จังหวัดตรัง
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าวของจังหวัดตรัง ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก./ไร่) | พื้นที่ (ไร่) | % | ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 4,938 | 100 |
พันธุ์ข้าวนาปีที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดตรัง และสามารถให้ผลผลิต ได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ คือพันธุ์เล็บนกปัตตานี ส่วนพันธุ์อื่น ๆ ไม่มีข้อมูลจากแปลงทดสอบ ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) | L1 เหมาะสมมาก | เล็บนกปัตตานี | ปลูกวิธีปักดำ และใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 568 |
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ โดยใช้อัตราปุ๋ยเคมีและชนิดของ ข้าว ดังนี้ ครั้งที่ | สูตรปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง อัตรา (กก./ไร่) | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง อัตรา (กก./ไร่) | ระยะเวลาที่ใส่ | 1 | 16-20-0 | 25 | 30 | - นาหว่าน: ข้าวอายุ 20 วัน - นาดำ : ไม่เกิน 7 วันหลังปักดำ | 2 | 46-0-0 | - | 10 | ข้าวแตกกอสูงสุด | 3 | 46-0-0 | 10-15 | 15 | ระยะกำเนิดช่อดอก |
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม | ข้าวไวแสง(กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) | น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 | 1-2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 | มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
|
|
จังหวัดนครศรีธรรมราช
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว จังหวัดนครศรีธรรมราช
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กก.ไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 75 |
ผลผลิตปานกลาง | 2 | 450-550 | 10 |
ผลผลิตต่ำ | 3 | 350-450 | 10 |
ผลผลิตต่ำมาก | 4 | <350 | 5 |
พันธุ์ข้าวที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช มีอย่างน้อย 3 พันธุ์ที่สามารถให้ผลผลิตได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ คือพันธุ์เล็บนกปัตตานี ชัยนาท 1 และปทุมธานี 1
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | เล็บนกปัตตานี | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 627 |
| ชัยนาท1 ปทุมธานี1 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 679 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | กาบดำ | ปลูกวิธีหว่านข้าวแห้ง ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 423 |
| ชัยนาท1 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 238 |
L3 เหมาะสมน้อย | เล็บนกปัตตานี สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 524 |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ โดยใช้อัตราและชนิดของข้าว ดังนี้
ครั้งที่ | สูตรปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง อัตรา (กก./ไร่) | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง อัตรา (กก./ไร่) | ระยะเวลาที่ใส่ |
1 | 16-20-0 | 25 | 30 | -นาหว่าน: ข้าวอายุ 20 วัน -นาดำ : ไม่เกิน 7 วันหลังปักดำ |
2 | 46-0-0 | - | 10 | ข้าวแตกกอสูงสุด |
3 | 46-0-0 | 10 | 10 | ระยะกำเนิดช่อดอก |
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ ที่วิเคราะห์ได้(%) | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดพังงา
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมือง ดอกข่า ขาวดอกมะลิ 105 และปทุมธานี 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่ โดยให้ผลผลิตสูงสุด 620 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 560 |
L2 | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 618 |
L3 | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 414 |
Loc | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 322 |
จังหวัดพัทลุง
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ค่าระดับผลผลิต(R) | ระดับผลผลิต(กิโลกรัมต่อไร่) | อัตราร้อยละ |
สูง | 1 | >550 | 82 |
ปานกลาง | 2 | 450-550 | 2 |
ต่ำ | 3 | 350-450 | 16 |
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | เฉี้ยงพัทลุง สังข์หยด ช่อชบา เข็มทอง ยาไทร เล็บนกปัตตานี | ปักดำและหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 650 |
L2 เหมาะสมปานกลาง | เฉี้ยงพัทลุง สังข์หยด ช่อชบา เข็มทอง ยาไทร เล็บนกปัตตานี | ปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 476 |
L3 เหมาะสมน้อย | เฉี้ยงพัทลุง สังข์หยด ช่อชบา เข็มทอง ยาไทร เล็บนกปัตตานี | ปักดำ ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำ | 398 |
การใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0, 18-46-0, 12-16-8 หรือ 18-12-6 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอสูงสุดและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของดินและพันธุ์ข้าว ดังนี้
สูตรปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น ระยะ 20 วันหลังหว่าน (16-20-0, 18-46-0) | 25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะแตกกอสูงสุด (46-0-0) | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า ระยะกำเนิดช่อดอก (46-0-0) | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปริมาณธาตุอาหารหลัก ที่ใส่ในนาข้าวตามค่าวิเคราะห์ดิน
อินทรียวัตถุ ที่วิเคราะห์ได้ (%) | ไนโตรเจนที่ต้องใส่ | ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ | โพแทสเซียมที่สกัดได้ |
ข้าวไวต่อช่วงแสง (กกN./ไร่) | ข้าวไม่ไว ต่อช่วงแสง (กกN./ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิเคราะห์ได้ (ppm) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
< 1 | 9 | 18 | < 5 | 6 | < 60 | 6 |
1 - 2 | 6 | 12 | 5 – 10 | 3 | 60 – 80 | 3 |
>2 | 3 | 6 | > 10 | 0 | > 80 | 0 |
จังหวัดภูเก็ต
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 และปทุมธานี 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก พื้นที่บางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 650 กิโลกรัมต่อไร่ โดยให้ผลผลิตสูงสุด 620 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 560 |
L2 | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 618 |
L3 | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 414 |
Loc | ดอกข่า ดอกพะยอม ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 สังข์หยดพัทลุง | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 322 |
จังหวัดระนอง
ระดับศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมือง เล็บนกปัตตานี และดอกพะยอม พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน แถบอำเภอกระบุรี ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก และบางส่วนไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว ในสัดส่วนใกล้เคียงกัน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 60 ปทุมธานี 1 สุพรรณบุรี 90 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 600-1,000 |
จังหวัดสงขลา
การใช้เทคโนโลยีการใส่ปุ๋ยเคมีที่ถูกต้องและเหมาะสม ด้วยการทำแปลงทดสอบการใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ และตามค่าวิเคราะห์ดิน เปรียบเทียบกับการใช้ปุ๋ยของเกษตรกร ระหว่าง พ.ศ. 2546-2548 สามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าว โดยรวมได้ยกระดับผลผลิตข้าวในพื้นที่เหมาะสมมากของจังหวัดสงขลา ให้สูงขึ้นประมาณ 10 กิโลกรัมต่อไร่ กิโลกรัมต่อไร่ โดยการใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ให้ผลผลิตข้าวสูงสุด 651 กิโลกรัมต่อไร่
ศักยภาพการให้ผลผลิตข้าว ของจังหวัดสงขลา
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต(R) | ระดับผลผลิต(กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | 1 | >550 | 40 |
ผลผลิตต่ำ | 3 | 350-450 | 60 |
รวม | 100 |
พันธุ์ข้าวนาปีที่นิยมปลูกในพื้นที่จังหวัดสงขลา คือ เล็บนกปัตตานี เฉี้ยงพัทลุง พลายงามปราจีนบุรี และข้าวพื้นเมืองพันธุ์ เช่น นางนาค ช่อปลวก พระเอก ปากนก มาเลย์ และ ไทรบุรี กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน
พันธุ์ข้าวนาปรังที่สามารถปลูกในพื้นที่จังหวัดสงขลา อย่างน้อยมี 2 พันธุ์ ได้แก่ ปทุมธานี 1 และ ชัยนาท 1 กระจายอยู่ตามพื้นที่ ที่มีความเหมาะสมหรือหน่วยแผนที่ดินต่างกัน มีการจัดการเพาะปลูกและการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสมแตกต่างกัน สามารถให้ผลผลิตสูงสุด 651 กิโลกรัมต่อไร่
ดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการ | ผลผลิตข้าวสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 เหมาะสมมาก | ปทุมธานี 1 ชัยนาท 1 | ปลูกวิธีหว่าน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 651 กก./ไร่ |
L3 เหมาะสมน้อย | เฉี้ยงพัทลุงเล็บนกปัตตานี ช่อคลี | ปลูกวิธีหว่าน้ำตม ใส่ปุ๋ยอัตราตามคำแนะนำหรือตามค่าวิเคราะห์ดิน | 450 กก./ไร่ |
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใช้ปุ๋ยสูตร 16-12-8, 18-12-6 หรือ 16-20-0 เป็นปุ๋ยรองพื้นหลังหว่านข้าว 20 วัน และปุ๋ย 46-0-0 เป็นปุ๋ยแต่งหน้าระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก โดยใช้อัตราตามชนิดของข้าว ดังนี้
ระยะการใส่ปุ๋ย | ข้าวไวต่อช่วงแสง | ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง |
ปุ๋ยรองพื้น 16-12-8,16-12-6 หรือ 16-20-0 | 20-25 กิโลกรัมต่อไร่ | 30-35 กิโลกรัมต่อไร่ |
ปุ๋ยแต่งหน้า 46-0-0 | 5 กิโลกรัมต่อไร่ | 10 กิโลกรัมต่อไร่ |
ซึ่งจะทำให้ได้ปุ๋ยอัตรา 6-6-6 หรือ 6-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไวต่อช่วงแสง และ 12-6-6 หรือ 12-6-0 กก.N-P2O5-K2O/ไร่ สำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง โดยประมาณ ตามลำดับ
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน แยกเป็นอัตราของปุ๋ยชนิดต่าง ๆ
อินทรียวัตถุ (%) ที่วิเคราะห์ได้ | ปริมาณไนโตรเจน | ปริมาณฟอสฟอรัส | ปริมาณโพแทสเซียม |
ข้าวไวแสง (กก.N/ไร่) | ข้าวไม่ไวแสง (กก.N/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.P2O5/ไร่) | ที่วิคราะห์ได้ (ส่วนในล้านส่วน) | ที่ต้องใส่ (กก.K2O/ไร่) |
น้อยกว่า 1 | 9 | 18 | น้อยกว่า 5 | 6 | น้อยกว่า 60 | 6 |
1 – 2 | 6 | 12 | 5 - 10 | 3 | 60 - 80 | 3 |
มากกว่า 2 | 3 | 6 | มากกว่า 10 | 0 | มากกว่า 80 | 0 |
จังหวัดสตูล
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์พื้นเมือง เฉี้ยงพัทลุง สังข์หยดพัทลุง ชัยนาท 1 และปทุมธานี 1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวสูงสุด ได้มากกว่า 650 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | เฉี้ยงพัทลุง สังข์หยดพัทลุง ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 กข37 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 660 |
L2 | เฉี้ยงพัทลุง สังข์หยดพัทลุง ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 กข37 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 539 |
L3 | เฉี้ยงพัทลุง สังข์หยดพัทลุง ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 กข37 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 545 |
Loc | เฉี้ยงพัทลุง สังข์หยดพัทลุง ชัยนาท 1 ปทุมธานี 1 กข37 | ปลูกวิธีปักดำ ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน | 515 |
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศักยภาพผลผลิตข้าวจากการใช้เทคโนโลยี
ศักยภาพการให้ผลผลิต | ระดับผลผลิต (R) | ระดับผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่) | % |
ผลผลิตสูง | R1 | > 550 | |
ผลผลิตปานกลาง | R2 | 450-550 | |
ผลผลิตต่ำ | R3 | 350-450 | |
ผลผลิตต่ำมาก | R4 | < 350 | |
รวม | |
พันธุ์ข้าวที่เกษตรกรนิยมปลูกส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 สุพรรณบุรี 1 กข31 หอมไชยา และปทุมธานี1 พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นาน้ำฝน ส่วนใหญ่มีความเหมาะสมมากต่อการปลูกข้าวมาก ปานกลาง และไม่เหมาะสมต่อการปลูกข้าว ในสัดส่วนใกล้เคียงกัน การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ผลผลิตข้าวได้มากกว่า 550 กิโลกรัมต่อไร่
ระดับความเหมาะสมของดิน | พันธุ์ข้าว | การจัดการเพาะปลูก | ผลผลิตสูงสุด (กิโลกรัมต่อไร่) |
L1 | ชัยนาท 1 สุพรรณบุรี 60 ปทุมธานี 1 สุพรรณบุรี 90 | ปลูกวิธีหว่านน้ำตม ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำตามค่าวิเคราะห์ดิน | 600-1,000 |